วันเสาร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2550

แฝดคนละฝา

ณ ห้องสมุด
ออยกำลังเดินไปเก็บหนังสือ ระหว่างเดินก็ผ่านโต๊ะของน้องม.ต้นกลุ่มข้างๆ แล้วน้องก็ยื่นหนังสือพิมพ์มาให้
ออยก็คิดว่าน้องเค้าจะให้เราเก็บให้(ในใจว่าจะให้เราเก็บให้ทำไม ไม่ได้รู้จักกันด้วย แล้วอีกอย่างเราเป็นรุ่นพี่
มาใช้เราเฉยเลย แต่ก็เก็บให้)แล้วออยก็หยิบหนังสือพิมพ์ไป เพื่อที่จะเดินไปเก็บให้
พอจะเดินไปเก็บน้องก็พูดว่า
รุ่นน้องม.ต้นคนที่ 1 : อ่าว..พี่ไม่ดูหรอ
ออย : ( หันไปหาน้อง )
น้ำ : เห้ยออย...แอมยืมน้องเขาดู
รุ่นน้องม.ต้นคนที่ 1 : ( หันไปพูดกับเพื่อน) อ่าวเห้ย...ก็คนนี้ไม่ใช่หรอ
รุ่นน้องม.ต้นคนที่ 2 : ( หันมามองออย แล้วทำหน้างงๆ )
แล้วออยก็เดินไปหาแอมที่ห้องสมุดด้านใน แล้วก็เล่าให้แอมฟัง
เราก็เดินออกมาจากห้องสมุดด้านใน เพื่อแอมจะได้ไปอ่านหนังสือพิมพ์
พอเดินมาถึงโต๊ะกลุ่มน้อง น้องก็ขำก๊ากเลย แล้วหันมามองทั้งกลุ่มอ่ะ
น้องบอกหน้าเหมือนกันมากกกก 555+ อีกคนนึงบอกว่านามสกุลไม่เหมือนกัน
ออยกะแอมก้มองหน้ากัน ขำไม่เลิกแล้วก้พูดว่าไม่เห็นจะเหมือนเลย
แต่ตอนอยู่ม.4 ก็มีคนทักหลายคนแล้ว ก็มองหน้ากันทุกวัน
ยังไม่เจอส่วนเหมือนบ้างเลย พอถามเพื่อนๆก็บอกว่าคล้ายๆ
เหมือนไม่เหมือนก็ดูรูปกันนะ แต่ยังไงออยกะแอมก็บอกไม่เหมือน..









วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2550

Le Petit Journal


Le Petit Journal est un quotidien parisien, fondé par Moïse Polydore Millaud, qui a paru de 1863 à 1944.

Si le Petit Journal marche si fort dès sa création, c'est qu'il est beaucoup moins cher que les autres (cinq centimes). Les lois du Second Empire n'imposant pas de timbre sur les journaux de divertissement. Avec une formule courte (quatre pages) et un ton proche de celui peuple, il révolutionne les habitudes journalistiques de l'époque. Le résultat est spectaculaire.
À son apogée, vers
1890, son tirage a atteint le million d'exemplaires. Le Petit Journal est alors l'un des trois principaux journaux français. Ce journal de presse populaire, où paraissent des romans-feuilletons tels que ceux de Gaboriau et de Ponson du Terrail, expédie 80 % de son tirage en province.
Dès
1884, paraît hebdomadairement le Supplément illustré, dont le tirage atteint 1 million d'exemplaires en 1895.

คำศัพท์

timbre (n.m.) อากรแสตมป์,ตราตอก,กระดิ่ง,น้ำเสียง

formule (n.f.) สูตร,ใบแบบ,หลักประพฤติของสุภาพชน

proche (a.) ใกล้,ชิด,เคียง

peuple (n.m.) ประชาชน

tirage (n.m.) การดึงลาก,การออกสลาก,การพิมพ์

presse (n.f.) การบีบ,เครื่องอัด,การหนังสือพิมพ์,แท่นพิมพ์

วันอังคารที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2550

นม+น้ำอัดลม=ศูนย์



เรื่องนี้เป็นคำเตือนสำหรับคนที่อยากเพิ่มความสูง

เพราะล่าสุดมีการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับเครือข่าวเด็กไทยไม่กินหวานออกมาเตือนว่า แม้จะดื่มนมเข้าไปมากเท่าไร แต่หากดื่มน้ำอัดลมตามเข้าไปในปริมาณที่เท่ากัน ก็จะทำให้การดื่มนมเพื่อเพิ่มความสูงนั้นมีค่าเป็นศูนย์ทันที นอกจากนี้ยังได้เสี่ยงเรื่องอ้วนเพิ่มเข้ามาแทนที่ถึง 60%อีกต่างหาก

ในการสำรวจครั้งล่าสุดครั้งนี้ ทาง สสส. ได้พบข้อมูลที่น่าตกใจว่า

ด็กใจนิยมดื่มน้ำอัดลมรองลงมาจากนม โดยเด็กในวัย 10-12 ปีนั้นดื่มน้ำอัดลมมากถึงหนึ่งล้านสองแสนคนเลยทีเดียว และที่น่าตกใจยิ่งกว่าก็คือเด็กไทยวัย 9 เดื่อนก็ดื่มน้ำอัดลมกันแล้วถึง 30% ซึ่งกาเฟอีนจากน้ำอัดลมนี้จะทำให้ร่างกายขับแคลเซียมในปัสสาวะมากขึ้น อีกทั้งน้ำอัดลมยังมีกรดฟอสฟอริกซึ่งทำให้ความหนาแน่นของมวลกระดูกลดลง ส่งผลให้กระดูกเปราะ หักง่าย กลายเป็นโรคกระดูกผุก่อนวัยอันควร
**สำหรับผู้ที่ดื่มนมไม่ได้ เราขอแนะนำให้ทานใบตำลึงหรือถั่วพลูก็ได้ ผักทั้ง 2 อย่างนี้มีแคลเซียมสูง
( เรากินทุกวันเลยทั้งนมทั้งตำลึง ยังสูงได้แค่เนี๊ย!!)

วันพฤหัสบดีที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2550

Ballet

La répétition générale du ballet par Edgar Degas
Le ballet est un genre dramatique dont l'action est figurée par des pantomimes et des danses.
Selon les époques, les pays et les courants, le spectacle chorégraphique peut intégrer de la musique, du chant, du texte, des décors, voire des machineries.
Comme l'
opéra, il peut être organisé de deux manières, soit en une succession de « numéros » ou « entrées », soit « en continu ». La structure du ballet « à entrées » est la plus ancienne : des danses s'enchaînent les unes aux autres comme autant d'épisodes distincts.
คำศัพท์เพิ่มเติม--*
figure (n.f.) หน้าตา,รูปทรง,เครื่องแสดง

pantomime (n.f.) ศิลปะแห่งการแสดงท่าทาง,เลียนแบบผู้อื่น
époque (n.f.) ยุค,สมัย

structure (n.f.) โครงสร้าง,รูปร่าง
épisode (n.m.) เหตุการณ์เป็นตอนๆ,ยุค,สมัย
distinct,e (a.) แตกต่าง,ชัดเจน