วันศุกร์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

วันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

หุ่นขี้ผึ้งสยาม

เมื่อวานไปหุ่นขี้ผึ้งสยามมาจ้าาา

แล้วก็ไปตลาดน้ำอัมพวาต่อ

นานๆจะได้ไปเที่ยวกะพ่อแม่พี่ชาย

พอดีว่าเมื่อวานพ่อกะพี่ชายหยุด

ก็เลยชวนกันไป เพิ่งเคยไปครั้งแรก

ที่อยากไปเพราะว่าน้องชายเคยไปแล้วมาเล่าให้ฟัง

ว่างๆเพื่อนๆก็ลองชวนพ่อแม่พี่น้องไปกันน้า

สนุกดีได้ความรู้ด้วย อีกอย่างก็ไม่ไกลมาก

อาจารย์เกรียงลองพาไปบ้างสิคะ ^__^

วันศุกร์ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

เรื่องดีๆ ระหว่างพ่อกับลูก


ชายหนุ่มเลิกงานและกลับเข้าบ้านช้าด้วยความเหน็ดเหนื่อยอ่อนล้า
และพบว่าลูกชายวัย 5 ขวบรอคุณพ่ออยู่ที่หน้าประตู
ลูก" พ่อครับ พ่อผมมีคำถามถามพ่อข้อนึง "
พ่อ" ว่ามาซิลูก อะไรเหรอ? "
ลูก" พ่อทำงานได้เงินชั่วโมงละเท่าไรครับ? "
พ่อตอบด้วยความโมโห " ไม่ใช่กงการอะไรของลูกนี่ ทำไมถามอย่างนี้ล่ะ?"
ลูกพูดร้องขอ " ผมอยากรู้จริงๆโปรดบอกผมเถอะ พ่อทำงานได้เงินชั่วโมงละเท่าไรครับ? "
พ่อ " ถ้าจำเป็นจะต้องรู้ล่ะก็ พ่อได้ชั่วโมงละ 20 เหรียญ "
ลุก " โอโห....." ลูกอุทาน แล้วคอตก จึงพูดกับพ่ออีกครั้ง "พ่อครับ ผมอยากขอยืมเงิน 10 เหรียญ "
พ่อกล่าวด้วยอารมณ์ "นี่เป็นเหตุที่แกถาม เพื่อจะขอเงินแล้วไปซื้อของเล่นโง่ๆ หรืออะไรไม่เข้าท่าหรอกเหรอ รีบขึ้นไปนอนเลยนะแล้วลองคิดดูว่า แกน่ะ เห็นแก่ตัวมาก ฉันทำงานหนักหลายๆ ชั่วโมงทุกวันและไม่มีเวลาสำหรับเรื่องเด็กๆไร้สาระ
เด็กน้อยเงียบลง เดินไปที่ห้องแล้วปิดประตู ชายหนุ่มนั่งลงและยังโกรธอยู่
กับคำถามของลูกชายเค้ากล้าที่จะถามคำถามนั้น เพื่อจะขอเงินอย่างไร
หลังจากนั้นเกือบชั่วโมงอารมณ์ชายหนุ่มก็เริ่มสงบลงและเริ่มคิดถึงสิ่งที่ทำลงไปกับลูกชายตัวน้อย
บางทีเขาอาจจำเป็นต้องใช้เงิน 10 เหรียญนั้นจริงๆและลูกก็ไม่ได้ขอเงินเขาบ่อยนัก ชายหนุ่มจึงเดินไปบนห้องแล้วเปิดประตู
พ่อ " หลับหรือยังลูก? "
ลูก " ยังครับ "
พ่อ " พ่อมาคิดดู เมื่อกี้พ่ออาจทำรุนแรงกับลูกเกินไป นานแล้วนะที่พ่อไม่ได้คลุกคลีกับลูก เอ้า นี่เงิน 10 เหรียญ ที่ลูกขอ "
เด็กน้อยลุกขึ้นนั่ง " ขอบคุณครับพ่อ "
ว่าแล้วก็ล้วงลงไปใต้หมอนหยิบเงินจำนวนหนึ่งออกมาแล้วนับช้าๆชายหนุ่มเห็นดังนั้นก็โกรธขึ้นอีกครั้ง
พ่อ " ก็มีเงินแล้วนี่ แล้วมาขออีกทำไม? "
ลูก " เพราะผมมีไม่พอครับ แต่ตอนนี้ผมมีครบแล้วพ่อครับ ตอนนี้ผมมีเงินครบ 20 เหรียญแล้ว ผมขอซื้อเวลาพ่อชั่วโมงนึง.....
พรุ่งนี้พ่อกลับบ้านเร็วๆ นะครับ ผมอยากกินข้าวเย็นกับพ่อ"
^___^

วันอาทิตย์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

Bunraku


Le bunraku (文楽) est un type de théâtre japonais datant du XVIIe siècle. Les personnages y sont représentés par des marionnettes de grande taille, manipulées à vue[1].
Tradition
théâtrale plus particulièrement originaire de la région d'Ōsaka, le bunraku est interprété par un seul récitant qui chante tous les rôles, et trois manipulateurs pour chaque marionnette. Les marionnettistes sont visibles par le public et utilisent soit la gestuelle furi, plutôt réaliste, soit la gestuelle kata, empreinte de stylisation, selon l'émotion recherchée.
Les manipulateurs respectent une hiérarchie réglée en fonction de leur degré de connaissance dans l'art du bunraku. Ainsi le plus expérimenté (au moins vingt ans de métier) manipule la tête et le bras droit, le second le bras gauche et le dernier (le novice) les pieds. Pour pouvoir être manipulée, la marionnette possède ce qu'on appelle des contrôles ou baguettes sur ces différentes parties.
Afin de manipuler plus aisément la marionnette, les manipulateurs se déplacent en position de
kathakali, jambes à demi fléchies. Ils doivent ainsi faire beaucoup d'exercices physiques et d'assouplissement afin d'être les plus agiles possibles.
คำศัพท์
marionnette (n.f) หุ่นกระบอก
manipuler (v.) จัดการดำเนินงานด้วยมือ
théâtral,e,aux (a.) เกี่ยวกับการแสดงละคร
interprète (n.m.) ล่าม,ตัวละคร
plutôt (adv.) มากกว่า,ดีกว่า,ค่อนข้าง
empreinte (n.f.) ลวดลาย,เครื่องแสดง,รอยประทับ